วันจันทร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

การพัฒนาทักษะผู้เรียน

รพัฒนาผู้เรียกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ระดับชั้น ม.1

    • ทักษะการเปรียบเทียบ 
    • ทักษะการสำรวจค้นหา 
    • ทักษะการจำแนกประเภท 
    • ทักษะการ รวบรวมข้อมูล 
    • ทักษะการตีความ 
    • ทักษะการเชื่อมโยง 
    • ทักษะการสรุปย่อ 
    • ทักษะการนำความรู้ไปใช้ 
    • ทักษะการวิเคราะห์ 
    • ทักษะการสังเคราะห์ 
    • ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 
    • ทักษะการจัดโครงสร้าง 
    • ทักษะกระบวนการตัดสินใจ
  • ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2553. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย

  • การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ให้ประสบผลสำเร็จตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยให้ทุกภาคส่วนร่วมกันดำเนินการ กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ดังนี้
ทักษะความสามารถ ระดับ ม 1-3
  • แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
  • ใช้เทคโนโลยี เพื่อการเรียนรู้
  • มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต 
  • ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
  • ที่มา : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2553. แนวทางการนำจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.


โครงสร้างแผน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 
บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ
    • 1. การเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น
    • 2. การปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น
    • 3. เยาวชนที่ดี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย
    • 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ
    • 2. อำนาจอธิปไตย
    • 3. การปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล
    • 1. กฎหมายคุ้มครองเด็ก
    • 2. กฎหมายการศึกษา
    • 3. กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
    • 4. กฎหมายลิขสิทธิ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    • 1. ที่มาของวัฒนธรรมไทย
    • 2. ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
    • 3. วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน
    • 4. วัฒนธรรมกับปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์อันดี
    โครงสร้างรายวิชา 

    หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
    บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ
    มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
    • ส 2.1 ม.1/2 ม.1/4
    สาระสำคัญ เวลา 5 ชม.
    • เยาวชนที่ดีต้องรู้จักเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น ทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ซึ่งจะส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข

    หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
    รัฐธรรมนูญกับการเมืองการปกครองของไทย
    มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
    • ส 2.2 ม.1/1
    สาระสำคัญ เวลา 5 ชม.
    • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
      มีบทบัญญัติสำคัญเกี่ยวกับหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง สาระสำคัญและการใช้อำนาจอธิปไตย ชาวไทย
      ทุกคนต้องปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

    หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
    กฎหมายคุ้มครอง
    สิทธิของบุคคล
    มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
    • ส 2.1 ม.1/1
    สาระสำคัญ เวลา 5 ชม.
    • กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคลมีบทบัญญัติสำคัญที่ทำให้บุคคลเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น ปฏิบัติต่อกันอย่างเหมาะสม ส่งผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต


    หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
    วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
    • 2.1    ม.1/3
    สาระสำคัญ เวลา 5 ชม.
    • วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มีคุณค่า การศึกษาวิเคราะห์วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ย่อม
      ทำให้เข้าใจแนวทางการสร้างความ
      สัมพันธ์ที่ดีต่อกัน





    ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น